ภาพยนตร์โฆษณา - ต่อต้านคอร์รัปชั่น

วันพุธที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2554

แร่

แร่ คือ ธาตุแท้ หรือสารบริสุทธิ์ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ โดยมีส่วนประกอบทางเคมีและมีรูปผลึกที่แน่นอน จัดเป็นทรัพยากรธรรมชาติประเภทหนึ่งที่มีความสำคัญต่อมนุษย์มาตั้งแต่สมัยโบราณ
ชนิดของแร่ เราสามารถแบ่งแร่ออกเป็น 3 ชนิด คือ แร่โลหะ แร่อโลหะ และแร่เชื้อเพลิง
             1)  แร่โลหะคือ แร่ที่นำมาถลุงก่อน แล้วจึงนำไปใช้ประโยชน์ แร่โลหะที่สำคัญ ได้แก่
(1)
ดีบุก เป็นแร่ที่อยู่ในหินแข็งจำพวกหินแกรนิต มีลักษณะเป็นผลึกแต่อาจเป็นก้อนผิวเป็น เส้นๆ คล้ายไม้ ถ้าบริสุทธิ์จะมีสีคล้ายน้ำผึ้ง ถ้าไม่บริสุทธิ์จะมีสีน้ำตาลหรือดำ นิยมนำมาทำโลหะผสม ทำภาชนะจำพวกปีบ กระป๋อง นำมาใช้เคลือบหรือชุบแผ่นเหล็ก ทำโลหะบัดกรี ทำเป็นแผ่นสำหรับห่ออาหาร บุหรี่
             (2)
วุลแฟรม มีลักษณะเป็นแผ่นหรือแท่งมีสีน้ำตาลแก่หรือดำ เมื่อถลุงแล้วเรียกว่าทังสเตนมีคุณสมบัติทนความร้อนได้ดีจึงนิยมนำมาทำไส้หลอดไฟฟ้า ทำเครื่องเจาะ ตัดและกลึงโลหะ
              (3)
เหล็ก มีสีน้ำตาลปนแดงหรือสีดำ มีความมันวาวแบบโลหะ เป็นแร่ที่มีความสำคัญมากที่สุด นิยมใช้ในการก่อสร้าง ทำเครื่องมือ เครื่องจักรกลต่างๆ และอาวุธ
              (4)
ตะกั่ว มีลักษณะเป็นเกล็ด เม็ด บางทีเป็นผลึกรูปลูกเต๋า มีสีเทาแก่ออกดำ นิยมนำมาทำลูกกระสุนปืน ทำตัวพิมพ์ ทำโลหะบัดกรี แบตเตอรี่รถยนต์ เป็นต้น
              (5)
ทองแดง  มีลักษณะเป็นของแข็งสีแดง เนื้ออ่อนบุให้เป็นแผ่นยางและรีดเป็นเส้นลวดได้ง่ายเราใช้ทองแดงมากเป็นอันดับสองรองจากเหล็ก โดยใช้ทำอุปกรณ์ไฟฟ้า เครื่องมือเครื่องใช้ ต่างๆ
2)
แร่อโลหะ คือ แร่ที่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้โดยไม่ต้องถลุงแร่อโลหะที่สำคัญได้แก่
(1)
ยิปซัม เป็นแร่ที่เกิดขึ้นเป็นชั้นหนา ลักษณะคล้ายหินปูน มีสีขาว ใช้ทำปูนซีเมนต์ ปูนปลาสเตอร์ ชอล์ก
(2)
เกลือแกง มี 2 ชนิด คือเกลือสินเธาว์ หรือเกลือหิน ซึ่งเป็นเกลือที่ได้จากดินเค็มและเกลือสมุทรซึ่งได้จากน้ำทะเล
(3)
แร่รัตนชาติ ได้แก่ พวกพลอยต่างๆ ส่วนมากจะพบในลานดินที่เกิดจากการผุพังของหินบะซอลต์
แร่เชื้อเพลิง  คือ แร่ที่ใช้เป็นพลังงานเชื้อเพลิง แร่เชื้อเพลิงที่สำคัญ ได้แก่ ลิกไนต์ น้ำมัน และก๊าซธรรมชาติ
ประโยชน์ของแร่
1)  
ใช้ในกิจการอุตสาหกรรม
 2)  
ใช้ทำเครื่องใช้ เครื่องประดับต่างๆ
 3)  
ใช้ในการก่อสร้างอาคารบ้านเรือน 4)  ใช้เป็นเชื้อเพลิงให้ความร้อนและพลังงานตลอดจนนำมาสร้างเป็นเครื่องอำนวยความสะดวกต่างๆ
แนวทางการอนุรักษ์แรj
 1)
ขุดแร่มาใช้เมื่อมีโอกาสเหมาะสม
 2)
หาวิธีใช้แร่ให้มีประสิทธิภาพและได้ผลคุ้มค่ามากที่สุด
3)
ใช้แร่อย่างประหยัด
4)
ใช้วัสดุหรือสิ่งอื่นแทนสิ่งที่จะต้องทำจากแร่ธาตุ
5)
นำทรัพยากรแร่กลับมาใช้ใหม่ เช่น นำเศษเหล็ก เศษอลูมิเนียม เอามาหลอมใช้ใหม่ เป็นต้น
ทรัพยากรแร่ธาตุในท้องถิ่นต่างๆ
ภาคเหนือ             มีแร่ธาตุอุดมสมบูรณ์ แร่ธาตุที่สำคัญ คือ
-  
ถ่านหินลิกไนต์ พบที่ . แม่เมาะ .ลำปาง .ลี้ .ลำพูน
-  
น้ำมันปิโตรเลียม พบที่ .ฝาง . เชียงใหม่
-  
หินน้ำมัน พบที่ .ลี้ .ลำพูน
 -
ดินขาว พบที่ . แจ้ห่ม . ลำปาง
-  
ฟลูออไรต์ พบที่ .เชียงใหม่   เชียงราย   แม่ฮ่องสอน
-  
ดีบุก พบที่ . แม่ฮ่องสอน เชียงราย ลำปาง
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ   มีแร่ธาตุ ไม่มากนัก แร่ธาตุที่สำคัญ คือ
-  
แบไรต์  พบที่ .เลย อุดรธานี
-  
เกลือหิน พบที่ . นครราชสีมา
-  
ก๊าซธรรมชาติ พบที่ . ขอนแก่น
ภาคกลาง      มีแร่ธาตุไม่มากนัก แร่ธาตุที่สำคัญ คือ
-  
ยิปซัม พบที่ . นครสวรรค์ พิจิตร
-  
น้ำมันปิโตรเลียม พบที่ . กำแพงเพชร
-  
ดีบุก  พบที่ . สุโขทัย
-  
เหล็ก  พบที่ . ลพบุรี
ภาคตะวันออก          แร่ธาตุที่มีค่าทางเศรษฐกิจที่สำคัญ คือ
-  
รัตนชาติ  พบที่ .จันทบุรี ตราด
-  
ทรายแก้ว พบที่ . ระยอง
-  
แร่เหล็ก พบที่ . ระยอง ชลบุรี
ภาคตะวันตก      แร่ธาตุที่สำคัญคือ
-   
สังกะสี   พบที่   .ตาก
-   
เหล็ก   พบที่   .กาญจนบุรี
-   
รัตนชาติ  พบที่  .บ่อพลอย   .กาญจนบุรี
-   
หินน้ำมัน  พบที่   .ตาก
-    
ดีบุก  พบที่  .กาญจนบุรี ประจวบคีรีขันธ์
ภาคใต้       มีแร่ธาตุอุดมสมบูรณ์ แร่ธาตุที่สำคัญคือ
-   
ดีบุก  พบที่ .พังงา ภูเก็ต ระนอง
-   
ยิปซัม  พบที่ .สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช
-   
ทรายแก้ว  พบที่ .สงขลา
-   
แหล่งน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ พบที่อ่าวไทยบริเวณนอกชายฝั่ง    .สุราษฎร์ธานี สงขลา นครศรีธรรมราช
การเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น
                    ปัจจุบันสภาพแวดล้อมในท้องถิ่นต่างๆ เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ทั้งนี้ มีสาเหตุที่สำคัญ 2 ประการดังนี้
                      -  แผ่นดินไหว                                                                -  การสร้างที่อยู่อาศัย
                      -  การทรุดตัวของแผ่นดิน                                              -  การสร้างเขื่อน
                      -  น้ำกัดเซาะตลิ่ง                                                            -  การนำเทคโนโลยีทันสมัย
                      -  อื่นๆ                                                                               มาใช้ในการผลิต                                                                                                              ผลจากการกระทำของมนุษย์ที่มีต่อสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น
  มนุษย์ได้มีบทบาทในการทำให้สภาพแวดล้อมเสียไป ทั้งโดยความจงใจและ ความรู้เท่าไม่ถึงการณ์จากกิจกรรมของมนุษย์ และจากการนำเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้อย่างไม่คำนึงถึงผลเสียที่มีต่อสิ่งแวดล้อมทำให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมต่างๆ   ตามมามากมาย ดังนี้
  1. มลพิษทางอากาศ  หรืออากาศเป็นพิษ ซึ่งเกิดจากการที่ในอากาศมีปริมาณของออกซิเจนน้อย แต่มีส่วนผสมของฝุ่นละอองและสารอื่นๆ ปะปนอยู่มาก ทำให้เป็นอันตรายต่อร่างกายของคนเรา                                                                          
2. มลพิษทางน้ำ หรือน้ำเสียส่วนใหญ่ เกิดจากการทิ้งสารพิษลงในแหล่งน้ำ    เช่น ขยะ น้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม       สารเคมีที่ใช้ในการเกษตร ทำให้น้ำเน่าเสีย  นำไปใช้ประโยชน์ไม่ได้ นอกจากนี้ยังเป็นแหล่งเพาะเชื้อโรค สัตว์น้ำไม่มีที่อยู่อาศัย
 3.
ปัญหาเกี่ยวกับดิน มีหลายประการได้แก่ ดินขาดความอุดมสมบูรณ์ เพราะการใช้ดินที่ผิดประเภท ดินเน่าเสียเพราะการทิ้งขยะและสารเคมี ดินจืดเพราะขาดปุ๋ย   เนื่องจากการปลูกพืชชนิดเดียวกันซ้ำๆ ในพื้นที่เดิมการแก้ปัญหาและส่งเสริมสภาพแวดล้อมในท้องถิ่นแนวทางการแก้ปัญหาและส่งเสริมสภาพแวดล้อมในท้องถิ่น สามารถปฏิบัติได้ดังนี้
 1) สร้างความตระหนัก ความรู้ และความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการรักษาสภาพแวดล้อมแก่ประชาชน และบุคลากรของหน่วยงานต่างๆ ในท้องถิ่น
  2) ให้คนในท้องถิ่นหรือในชุมชนร่วมกันกำหนดมาตรการ แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมต่างๆ รวมทั้งการลงโทษผู้กระทำความผิดอย่างจริงจัง
 3) ปลุกจิตสำนึกของคนในท้องถิ่นให้มีความรู้สึกรัก และภาคภูมิใจในท้องถิ่นของตนเอง เพื่อจะได้ช่วยกันรักษาสภาพแวดล้อมในท้องถิ่น
 4) ร่วมกันฟื้นฟูสภาพแวดล้อมในท้องถิ่นที่เสื่อมโทรมให้ดีขึ้น เช่น โครงการปลูกป่า ทดแทน โครงการปลูกป่าชายเลน



ประเภทของแร่
แร่เป็นทรัพยากรที่มนุษย์ นำมาใช้ประโยชน์มากมาย แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ
1. แร่โลหะ เป็นแร่ที่มีความเหนียว เป็นตัวทนความร้อน และไฟฟ้าได้ดีหลอมตัวได้ และมีความทึบแสง ได้แก่ แร่ดีบุก เหล็ก แมงกานีส ทองแดง ตะกั่ว อลูมิเนียม แมกนีเซียม ทองคำ เงิน วุลแฟรม ฯล
2. แร่อโลหะ เป็นแร่ที่ไม่เป็นตัวนำความร้อนมีลักษณะโปร่งแสง เปราะแตกหักง่าย ได้แก่ ฟลูออไรท์ ฟอสเฟส หิน ทราย เกลือ กำมะถัน โปแตสเซียม แคลเซียม ดินขาว ฯล
3. แร่พลังงาน หรือแร่เชื้อเพลิงเป็นแร่ที่สำคัญถูกนำมาใช้มากเกิดจากซากสิ่งมีชีวิตในอดีต ได้แก่ ถ่านหิน น้ำมันดิบ ก๊าซธรรมชาติ


ประโยชน์แร่
1. ประโยชน์ทางด้านความมั่นคง และมั่งคั่งของประเทศ ประเทศที่มีแร่ธาตุต่าง ๆ มากมายและสามารถนำไปใช้แปรรูปเป็นผลผลิตต่าง ๆ ที่ทำประโยชน์ต่อมนุษย์ เช่น ด้านอาวุธ ด้านอุตสาหกรรม
2. ประโยชน์ด้านความเป็นอยู่ของมนุษย์นำแร่ธาตุต่าง ๆ มาสร้างขึ้นเป็นภาชนะใช้สอยพาหนะที่ช่วยในการคมนาคม อาคารบ้านเรือน ก๊าซหุงต้ม พลังงานไฟฟ้า
3. ประโยชน์ด้านการสร้างงานแก่ประชาชน ทำให้ประชาชนมีรายได้จากการขุดแร่ ไปจนถึงแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ไปสู่ผู้บริโภค
นอกจากนี้ แร่ธาตุชนิดต่าง ๆ มีคุณสมบัติลักษณะต่างกัน จึงมีประโยชน์แตกต่างกัน เช่น แร่วุลแฟรม นำมาทำไส้หลอดไฟฟ้า ใช้ในอุตสาหกรรมเครื่องแก้ว แร่พลวงนำมาใช้ทำตัวพิมพ์หนังสือ ทำสี แบตเตอรี่ รัตนชาติ เป็นแร่ที่มีลักษณะสีสันสวยงาม นำมาใช้ทำเครื่องประดับต่าง ๆ มากมาย
ปัญหาทรัพยากรแร่
1. ปัญหาสิ่งแวดล้อมบริเวณที่ทำเหมืองแร่แล้วทำให้สภาพดินไม่อุดมสมบูรณ์ สกปรกพื้นที่ขรุขระมีหลุมบ่อมากมายจึงถูกปล่อยทิ้งใช้ประโยชน์ไม่เต็มที่
2. ปัญหาการใช้แร่ธาตุบางประเภทเป็นจำนวนมาก เช่น แร่เหล็กถูกนำมาใช้มากและแพร่หลายที่สุด ถ่านหิน น้ำมันปิโตรเลียม ดีบุก ฯล
3. ปัญหาการใช้แร่ไม่คุ้มค่า ได้แก่ พวกแร่ที่ใช้แล้วยังเหลืออยู่ ยังสามารถนำกลับไปใช้อีก เช่น เหล็ก ส่วนแร่ที่นำไปใช้แล้วหมดไป เช่น ถ่านหิน น้ำมัน ปิโตรเลียม ก๊าซธรรมชาติ เราจึงต้องใช้อย่างคุ้มค่า และประหยัด

การทำเหมืองแร่
การอนุรักษ์แร่ธาตุ
ดังได้กล่าวมาแล้วถึงทรัพยากรแร่ธาตุในปัจจุบันซึ่งกำลังประสบปัญหาหากไม่มีการป้องกันแก้ไข ดังนั้นการอนุรักษ์แร่ธาตุจึงเป็นมาตรการสำคัญที่จะช่วยได้ดังต่อไปนี้
1. การใช้แร่ธาตุอย่างประหยัด ในการทำเหมืองแร่บางอย่างนั้นบางทีทรัพยากรแร่ธาตุที่ได้มาอาจมีหลายชนิด ดังนั้นจึงควรจะพยายามใช้ให้คุ้มค่าทุกชนิด อย่างประหยัด
และลดการสูญเปล่า
2. การสำรวจแหล่งแร่ ควรมีการเร่งรัดการสำรวจทรัพยากรแร่ธาตุให้ครอบคลุมทั่วประเทศเพื่อประโยชน์ในการวางแผนการใช้ประโยชน์อย่างคุ้มค่า
3. การใช้แร่ชนิดอื่นทดแทน พยายามหาแร่ธาตุอื่น ๆ มาใช้ทดแทนแร่ที่ใช้กันมาก อาทิการใช้อลูมิเนียมแทนเหล็ก
4. นำแร่ที่ใช้แล้วกลับมาใช้อีก เพื่อการใช้ประโยชน์อย่างเต็มที่ควรมีการนำแร่ที่ใช้แล้วกลับมาใช้อีก อาทิ ภาชนะเครื่องใช้ที่เป็นอลูมิเนียมบางอย่างที่หมดสภาพการใช้
 แล้วสามารถนำกลับมาหลอมใช้ใหม่ได้อีก

    

แร่ คือ ธาตุแท้ หรือสารบริสุทธิ์ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ โดยมีส่วนประกอบทางเคมีและมีรูปผลึกที่แน่นอน จัดเป็นทรัพยากรธรรมชาติประเภทหนึ่งที่มีความสำคัญต่อมนุษย์มาตั้งแต่สมัยโบราณ
ชนิดของแร่ เราสามารถแบ่งแร่ออกเป็น 3 ชนิด คือ แร่โลหะ แร่อโลหะ และแร่เชื้อเพลิง
             1)  แร่โลหะคือ แร่ที่นำมาถลุงก่อน แล้วจึงนำไปใช้ประโยชน์ แร่โลหะที่สำคัญ ได้แก่
(1) ดีบุก เป็นแร่ที่อยู่ในหินแข็งจำพวกหินแกรนิต มีลักษณะเป็นผลึกแต่อาจเป็นก้อนผิวเป็น เส้นๆ คล้ายไม้ ถ้าบริสุทธิ์จะมีสีคล้ายน้ำผึ้ง ถ้าไม่บริสุทธิ์จะมีสีน้ำตาลหรือดำ นิยมนำมาทำโลหะผสม ทำภาชนะจำพวกปีบ กระป๋อง นำมาใช้เคลือบหรือชุบแผ่นเหล็ก ทำโลหะบัดกรี ทำเป็นแผ่นสำหรับห่ออาหาร บุหรี่
             (2) วุลแฟรม มีลักษณะเป็นแผ่นหรือแท่งมีสีน้ำตาลแก่หรือดำ เมื่อถลุงแล้วเรียกว่าทังสเตนมีคุณสมบัติทนความร้อนได้ดีจึงนิยมนำมาทำไส้หลอดไฟฟ้า ทำเครื่องเจาะ ตัดและกลึงโลหะ
              (3) เหล็ก มีสีน้ำตาลปนแดงหรือสีดำ มีความมันวาวแบบโลหะ เป็นแร่ที่มีความสำคัญมากที่สุด นิยมใช้ในการก่อสร้าง ทำเครื่องมือ เครื่องจักรกลต่างๆ และอาวุธ
              (4) ตะกั่ว มีลักษณะเป็นเกล็ด เม็ด บางทีเป็นผลึกรูปลูกเต๋า มีสีเทาแก่ออกดำ นิยมนำมาทำลูกกระสุนปืน ทำตัวพิมพ์ ทำโลหะบัดกรี แบตเตอรี่รถยนต์ เป็นต้น
              (5) ทองแดง  มีลักษณะเป็นของแข็งสีแดง เนื้ออ่อนบุให้เป็นแผ่นยางและรีดเป็นเส้นลวดได้ง่ายเราใช้ทองแดงมากเป็นอันดับสองรองจากเหล็ก โดยใช้ทำอุปกรณ์ไฟฟ้า เครื่องมือเครื่องใช้ ต่างๆ
2) แร่อโลหะ คือ แร่ที่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้โดยไม่ต้องถลุงแร่อโลหะที่สำคัญได้แก่
(1) ยิปซัม เป็นแร่ที่เกิดขึ้นเป็นชั้นหนา ลักษณะคล้ายหินปูน มีสีขาว ใช้ทำปูนซีเมนต์ ปูนปลาสเตอร์ ชอล์ก
(2) เกลือแกง มี 2 ชนิด คือเกลือสินเธาว์ หรือเกลือหิน ซึ่งเป็นเกลือที่ได้จากดินเค็มและเกลือสมุทรซึ่งได้จากน้ำทะเล
(3) แร่รัตนชาติ ได้แก่ พวกพลอยต่างๆ ส่วนมากจะพบในลานดินที่เกิดจากการผุพังของหินบะซอลต์
แร่เชื้อเพลิง  คือ แร่ที่ใช้เป็นพลังงานเชื้อเพลิง แร่เชื้อเพลิงที่สำคัญ ได้แก่ ลิกไนต์ น้ำมัน และก๊าซธรรมชาติ
ประโยชน์ของแร่
1)  ใช้ในกิจการอุตสาหกรรม
 2)  ใช้ทำเครื่องใช้ เครื่องประดับต่างๆ
 3)  ใช้ในการก่อสร้างอาคารบ้านเรือน 4)  ใช้เป็นเชื้อเพลิงให้ความร้อนและพลังงานตลอดจนนำมาสร้างเป็นเครื่องอำนวยความสะดวกต่างๆ
แนวทางการอนุรักษ์แรj
 1) ขุดแร่มาใช้เมื่อมีโอกาสเหมาะสม
 2) หาวิธีใช้แร่ให้มีประสิทธิภาพและได้ผลคุ้มค่ามากที่สุด
3) ใช้แร่อย่างประหยัด
4) ใช้วัสดุหรือสิ่งอื่นแทนสิ่งที่จะต้องทำจากแร่ธาตุ
5) นำทรัพยากรแร่กลับมาใช้ใหม่ เช่น นำเศษเหล็ก เศษอลูมิเนียม เอามาหลอมใช้ใหม่ เป็นต้น
ทรัพยากรแร่ธาตุในท้องถิ่นต่างๆ
ภาคเหนือ             มีแร่ธาตุอุดมสมบูรณ์ แร่ธาตุที่สำคัญ คือ
-  ถ่านหินลิกไนต์ พบที่ อ. แม่เมาะ จ.ลำปาง อ.ลี้ จ.ลำพูน
-  น้ำมันปิโตรเลียม พบที่ อ.ฝาง จ. เชียงใหม่
-  หินน้ำมัน พบที่ อ.ลี้ จ.ลำพูน
 -ดินขาว พบที่ อ. แจ้ห่ม จ. ลำปาง
-  ฟลูออไรต์ พบที่ จ.เชียงใหม่   เชียงราย   แม่ฮ่องสอน
-  ดีบุก พบที่ จ. แม่ฮ่องสอน เชียงราย ลำปาง
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ   มีแร่ธาตุ ไม่มากนัก แร่ธาตุที่สำคัญ คือ
-  แบไรต์  พบที่ จ.เลย อุดรธานี
-  เกลือหิน พบที่ จ. นครราชสีมา
-  ก๊าซธรรมชาติ พบที่ จ. ขอนแก่น
ภาคกลาง      มีแร่ธาตุไม่มากนัก แร่ธาตุที่สำคัญ คือ
-  ยิปซัม พบที่ จ. นครสวรรค์ พิจิตร
-  น้ำมันปิโตรเลียม พบที่ จ. กำแพงเพชร
-  ดีบุก  พบที่ จ. สุโขทัย
-  เหล็ก  พบที่ จ. ลพบุรี
ภาคตะวันออก          แร่ธาตุที่มีค่าทางเศรษฐกิจที่สำคัญ คือ
-  รัตนชาติ  พบที่ จ.จันทบุรี ตราด
-  ทรายแก้ว พบที่ จ. ระยอง
-  แร่เหล็ก พบที่ จ. ระยอง ชลบุรี
ภาคตะวันตก      แร่ธาตุที่สำคัญคือ
-   สังกะสี   พบที่   จ.ตาก
-   เหล็ก   พบที่   จ.กาญจนบุรี
-   รัตนชาติ  พบที่  อ.บ่อพลอย   จ.กาญจนบุรี
-   หินน้ำมัน  พบที่   จ.ตาก
-    ดีบุก  พบที่  จ.กาญจนบุรี ประจวบคีรีขันธ์
ภาคใต้       มีแร่ธาตุอุดมสมบูรณ์ แร่ธาตุที่สำคัญคือ
-   ดีบุก  พบที่ จ.พังงา ภูเก็ต ระนอง
-   ยิปซัม  พบที่ จ.สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช
-   ทรายแก้ว  พบที่ จ.สงขลา
-   แหล่งน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ พบที่อ่าวไทยบริเวณนอกชายฝั่ง    จ.สุราษฎร์ธานี สงขลา นครศรีธรรมราช
การเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น
                    ปัจจุบันสภาพแวดล้อมในท้องถิ่นต่างๆ เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ทั้งนี้ มีสาเหตุที่สำคัญ 2 ประการดังนี้
                      -  แผ่นดินไหว                                                                -  การสร้างที่อยู่อาศัย
                      -  การทรุดตัวของแผ่นดิน                                              -  การสร้างเขื่อน
                      -  น้ำกัดเซาะตลิ่ง                                                            -  การนำเทคโนโลยีทันสมัย
                      -  อื่นๆ                                                                               มาใช้ในการผลิต                                                                                                             
ผลจากการกระทำของมนุษย์ที่มีต่อสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น
  มนุษย์ได้มีบทบาทในการทำให้สภาพแวดล้อมเสียไป ทั้งโดยความจงใจและ ความรู้เท่าไม่ถึงการณ์จากกิจกรรมของมนุษย์ และจากการนำเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้อย่างไม่คำนึงถึงผลเสียที่มีต่อสิ่งแวดล้อมทำให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมต่างๆ   ตามมามากมาย ดังนี้
  1. มลพิษทางอากาศ  หรืออากาศเป็นพิษ ซึ่งเกิดจากการที่ในอากาศมีปริมาณของออกซิเจนน้อย แต่มีส่วนผสมของฝุ่นละอองและสารอื่นๆ ปะปนอยู่มาก ทำให้เป็นอันตรายต่อร่างกายของคนเรา                                                                          
2. มลพิษทางน้ำ หรือน้ำเสียส่วนใหญ่ เกิดจากการทิ้งสารพิษลงในแหล่งน้ำ    เช่น ขยะ น้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม       สารเคมีที่ใช้ในการเกษตร ทำให้น้ำเน่าเสีย  นำไปใช้ประโยชน์ไม่ได้ นอกจากนี้ยังเป็นแหล่งเพาะเชื้อโรค สัตว์น้ำไม่มีที่อยู่อาศัย
 3. ปัญหาเกี่ยวกับดิน มีหลายประการได้แก่ ดินขาดความอุดมสมบูรณ์ เพราะการใช้ดินที่ผิดประเภท ดินเน่าเสียเพราะการทิ้งขยะและสารเคมี ดินจืดเพราะขาดปุ๋ย   เนื่องจากการปลูกพืชชนิดเดียวกันซ้ำๆ ในพื้นที่เดิมการแก้ปัญหาและส่งเสริมสภาพแวดล้อมในท้องถิ่นแนวทางการแก้ปัญหาและส่งเสริมสภาพแวดล้อมในท้องถิ่น สามารถปฏิบัติได้ดังนี้
 1) สร้างความตระหนัก ความรู้ และความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการรักษาสภาพแวดล้อมแก่ประชาชน และบุคลากรของหน่วยงานต่างๆ ในท้องถิ่น
  2) ให้คนในท้องถิ่นหรือในชุมชนร่วมกันกำหนดมาตรการ แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมต่างๆ รวมทั้งการลงโทษผู้กระทำความผิดอย่างจริงจัง
 3) ปลุกจิตสำนึกของคนในท้องถิ่นให้มีความรู้สึกรัก และภาคภูมิใจในท้องถิ่นของตนเอง เพื่อจะได้ช่วยกันรักษาสภาพแวดล้อมในท้องถิ่น
 4) ร่วมกันฟื้นฟูสภาพแวดล้อมในท้องถิ่นที่เสื่อมโทรมให้ดีขึ้น เช่น โครงการปลูกป่า ทดแทน โครงการปลูกป่าชายเลน



ประเภทของแร่
แร่เป็นทรัพยากรที่มนุษย์ นำมาใช้ประโยชน์มากมาย แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ
1. แร่โลหะ เป็นแร่ที่มีความเหนียว เป็นตัวทนความร้อน และไฟฟ้าได้ดีหลอมตัวได้ และมีความทึบแสง ได้แก่ แร่ดีบุก เหล็ก แมงกานีส ทองแดง ตะกั่ว อลูมิเนียม แมกนีเซียม ทองคำ เงิน วุลแฟรม ฯล
2. แร่อโลหะ เป็นแร่ที่ไม่เป็นตัวนำความร้อนมีลักษณะโปร่งแสง เปราะแตกหักง่าย ได้แก่ ฟลูออไรท์ ฟอสเฟส หิน ทราย เกลือ กำมะถัน โปแตสเซียม แคลเซียม ดินขาว ฯล
3. แร่พลังงาน หรือแร่เชื้อเพลิงเป็นแร่ที่สำคัญถูกนำมาใช้มากเกิดจากซากสิ่งมีชีวิตในอดีต ได้แก่ ถ่านหิน น้ำมันดิบ ก๊าซธรรมชาติ


ประโยชน์แร่
1. ประโยชน์ทางด้านความมั่นคง และมั่งคั่งของประเทศ ประเทศที่มีแร่ธาตุต่าง ๆ มากมายและสามารถนำไปใช้แปรรูปเป็นผลผลิตต่าง ๆ ที่ทำประโยชน์ต่อมนุษย์ เช่น ด้านอาวุธ ด้านอุตสาหกรรม
2. ประโยชน์ด้านความเป็นอยู่ของมนุษย์นำแร่ธาตุต่าง ๆ มาสร้างขึ้นเป็นภาชนะใช้สอยพาหนะที่ช่วยในการคมนาคม อาคารบ้านเรือน ก๊าซหุงต้ม พลังงานไฟฟ้า
3. ประโยชน์ด้านการสร้างงานแก่ประชาชน ทำให้ประชาชนมีรายได้จากการขุดแร่ ไปจนถึงแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ไปสู่ผู้บริโภค
นอกจากนี้ แร่ธาตุชนิดต่าง ๆ มีคุณสมบัติลักษณะต่างกัน จึงมีประโยชน์แตกต่างกัน เช่น แร่วุลแฟรม นำมาทำไส้หลอดไฟฟ้า ใช้ในอุตสาหกรรมเครื่องแก้ว แร่พลวงนำมาใช้ทำตัวพิมพ์หนังสือ ทำสี แบตเตอรี่ รัตนชาติ เป็นแร่ที่มีลักษณะสีสันสวยงาม นำมาใช้ทำเครื่องประดับต่าง ๆ มากมาย
ปัญหาทรัพยากรแร่
1. ปัญหาสิ่งแวดล้อมบริเวณที่ทำเหมืองแร่แล้วทำให้สภาพดินไม่อุดมสมบูรณ์ สกปรกพื้นที่ขรุขระมีหลุมบ่อมากมายจึงถูกปล่อยทิ้งใช้ประโยชน์ไม่เต็มที่
2. ปัญหาการใช้แร่ธาตุบางประเภทเป็นจำนวนมาก เช่น แร่เหล็กถูกนำมาใช้มากและแพร่หลายที่สุด ถ่านหิน น้ำมันปิโตรเลียม ดีบุก ฯล
3. ปัญหาการใช้แร่ไม่คุ้มค่า ได้แก่ พวกแร่ที่ใช้แล้วยังเหลืออยู่ ยังสามารถนำกลับไปใช้อีก เช่น เหล็ก ส่วนแร่ที่นำไปใช้แล้วหมดไป เช่น ถ่านหิน น้ำมัน ปิโตรเลียม ก๊าซธรรมชาติ เราจึงต้องใช้อย่างคุ้มค่า และประหยัด

การทำเหมืองแร่
การอนุรักษ์แร่ธาตุ
ดังได้กล่าวมาแล้วถึงทรัพยากรแร่ธาตุในปัจจุบันซึ่งกำลังประสบปัญหาหากไม่มีการป้องกันแก้ไข ดังนั้นการอนุรักษ์แร่ธาตุจึงเป็นมาตรการสำคัญที่จะช่วยได้ดังต่อไปนี้
1. การใช้แร่ธาตุอย่างประหยัด ในการทำเหมืองแร่บางอย่างนั้นบางทีทรัพยากรแร่ธาตุที่ได้มาอาจมีหลายชนิด ดังนั้นจึงควรจะพยายามใช้ให้คุ้มค่าทุกชนิด อย่างประหยัด
และลดการสูญเปล่า
2. การสำรวจแหล่งแร่ ควรมีการเร่งรัดการสำรวจทรัพยากรแร่ธาตุให้ครอบคลุมทั่วประเทศเพื่อประโยชน์ในการวางแผนการใช้ประโยชน์อย่างคุ้มค่า
3. การใช้แร่ชนิดอื่นทดแทน พยายามหาแร่ธาตุอื่น ๆ มาใช้ทดแทนแร่ที่ใช้กันมาก อาทิการใช้อลูมิเนียมแทนเหล็ก
4. นำแร่ที่ใช้แล้วกลับมาใช้อีก เพื่อการใช้ประโยชน์อย่างเต็มที่ควรมีการนำแร่ที่ใช้แล้วกลับมาใช้อีก อาทิ ภาชนะเครื่องใช้ที่เป็นอลูมิเนียมบางอย่างที่หมดสภาพการใช้
 แล้วสามารถนำกลับมาหลอมใช้ใหม่ได้อีก

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น