ภาพยนตร์โฆษณา - ต่อต้านคอร์รัปชั่น

วันอาทิตย์ที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2554

หลักการขับร้องเพลง

หลักการขับร้องเพลง     การขับร้องเป็นการสร้างสรรค์ทางดนตรีวิธีหนึ่ง ซึ่งใช้วิธีเปล่งเสียงออกมาให้เป็นเพลงต่าง ๆ โดยอาศัยองค์ประกอบทางดนตรี เพื่อทำให้เพลงที่ร้องมีความไพเราะขึ้น
     1.  ประเภทของการขับร้อง แบ่งออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่
          1.  การขับร้องอิสระ คือ การขับร้องทั่วไป โดยไม่มีดนตรีประกอบผู้ขับร้องสามารถขับร้องตามที่ตนเองถนัดหรือต้องการ โดยไม่คำนึงถึงระดับเสียงของเครื่องดนตรี
          2.  การขับร้องประกอบดนตรี คือ การขับร้องให้เข้ากับการบรรเลงเครื่องดนตรี โดยคำนึงถึงทำนอง จังหวะ และรูปแบบของเพลง
          3.  การขับร้องประกอบการแสดง คือ การขับร้องเพื่อบรรยายเนื้อเรื่องหรือเนื้อเพลงประกอบการแสดงต่าง ๆ
          4.  การขับร้องหมู่ คือ การขับร้องพร้อมกันตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป แบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ การขับร้องทำนองเดียวกันและการร้องประสานเสียง
     2.  การขับร้องเพลงไทย การขับร้องเพลงไทย ควรเริ่มจากท่าทางการร้อง เนื่องจากเพลงไทยมีลักษณะเฉพาะ ผู้ขับร้องจะนั่งร้องเป็นส่วนใหญ่และมียืนร้องบ้างตามโอกาส ซึ่งผู้ขับร้องควรจะแสดงท่าทางให้เหมาะสม ดังนี้
          1.  ท่านั่ง ผู้ขับร้องส่วนใหญ่จะนั่งราบกับพื้นเวทีเช่นเดียวกับนักดนตรีซึ่งจะต้องนั่งพับเพียบให้เรียบร้อย สำรวมกิริยา นั่งตัวตรงไม่กระดุกกระดิก หรือเคลื่อนไหวมากเกินไป ขณะร้องให้หันหน้าไปทางผู้ชมเสมอ
          2.  ท่ายืน ในบางโอกาสผู้ขับร้องอาจจะได้ยืนร้อง ซึ่งผู้ขับร้องควรยืนร้อง ซึ่งผู้ขับร้องควรยืนอย่างสำรวมกิริยาท่าทาง และระวังการเคลื่อนไหวมือ เท้า และลำตัว
          การขับร้องเพลงไทย มีหลักการปฏิบัติ ดังนี้
          1.   ร้องให้มีระดับเสียงสอดคล้องกับเสียงดนตรี
          2.  หายใจเข้า-ออก ให้สอดคล้องกับช่วงจังหวะ ทำนอง และเนื้อเพลง
          3.  ออกเสียงพยัญชนนะ สระ คำควบกล้ำ ตามอักขรวิธี
          4.  ร้องให้ถูกต้องตามวรรคตอนของเนื้อเพลง เพราะหากร้องไม่ถูกวรรคตอน อาจทำให้ความหมายคลาดเคลื่อนได้
          5.  เนื่องจากเพลงไทยมีการเอื้อน ให้ระมัดระวังในเรื่องการออกเสียงควรเอื้อนให้มีน้ำเสียงสม่ำเสมอตามจังหวะและทำนองเพลง

                                                                         เพลงไทยที่ควรฝึกร้อง                                                                            เพลง ปีนตลิ่งนอก
                                                                                                                                เนื้อร้อง ยง อินคเวทย์
                            เมล็ดข้าวสีขาวราวกับหิน                                                คนได้กินทุกบ้านทุกฐานถิ่น
                            แต่กว่าจะได้ข้าวให้เรากิน                                               ชาวนาสิ้นกำลังเกือบทั้งปี
                            ต้องทนแดดทนฝนทนลมหนาว                                       จึงได้ข้าวจากนามาถึงนี่
                            คนกินข้าวควรนึกไว้ให้จงดี                                              ชาวนามีคุณแก่เราไม่เบาเอย

                                                                                 เพลง หนีเสือ
                                                                                                                                  เนื้อร้อง มนตรี ตราโมท
                                    จะหนีภัยไข้ป่วยด้วยย้ายบ้าน                                  ไม่เป็นการหนีรอดปลอดภัยได้
                             เพราะโรคร้ายย้ายติดชิดตัวไป                                         อยู่ที่ไหนโรคนั้นก็พลันมี
                             ถ้าหนีด้วยรักษาอนามัย                                                   มั่นอยู่ในความสะอาดอย่างถ้วนถี่
                             ให้บ้านเรือนร่างกายสดใสดี                                             ก็จะหนีโรคภัยได้พ้นเอย

     3.  การขับร้องเพลงไทยสากล เพลงไทยสากลเป็นเพลงที่ถูกแต่งขึ้นโดยใช้แนวทำนองดนตรีสากล ซึ่งแนวทำนองเพลงจะแตกต่างจากเพลงไทย คือ ไม่มีการเอื้อน มีตัวโน้ตเป็นตัวบอกจังหวะและทำนอง ในปัจจุบันเพลงไทยสากลมีหลายประเภท เช่น เพลงสตริง เพลงลูกทุ่ง เพลงลูกกรุง เป็นต้น
          การขับร้องเพลงไทยสากล มีหลักปฏิบัติ ดังนี้
          1.  ร้องให้ถูกต้องตามจังหวะทำนองเพลง
          2.  ร้องใหเต็มเสียง แต่ไม่ใช่การตะโกน
          3.  ออกเสียงพยัญชนะและอักขระให้ถูกต้องชัดเจน
          4.  ร้องตามเนื้อหาของบทเพลงให้ครบถ้วน
          5.  ขณะร้องควรหายใจเข้า-ออกให้สอดคล้องกับจังหวะและวรรคตอนของเพลงที่ขับร้อง
          6.  ขณะร้องควรแสดงสีหน้าท่าทางให้สัมพันธ์กับความหมายของเพลง

หลักการขับร้องเพลง     การขับร้องเป็นการสร้างสรรค์ทางดนตรีวิธีหนึ่ง ซึ่งใช้วิธีเปล่งเสียงออกมาให้เป็นเพลงต่าง ๆ โดยอาศัยองค์ประกอบทางดนตรี เพื่อทำให้เพลงที่ร้องมีความไพเราะขึ้น
     1.  ประเภทของการขับร้อง แบ่งออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่
          1.  การขับร้องอิสระ คือ การขับร้องทั่วไป โดยไม่มีดนตรีประกอบผู้ขับร้องสามารถขับร้องตามที่ตนเองถนัดหรือต้องการ โดยไม่คำนึงถึงระดับเสียงของเครื่องดนตรี
          2.  การขับร้องประกอบดนตรี คือ การขับร้องให้เข้ากับการบรรเลงเครื่องดนตรี โดยคำนึงถึงทำนอง จังหวะ และรูปแบบของเพลง
          3.  การขับร้องประกอบการแสดง คือ การขับร้องเพื่อบรรยายเนื้อเรื่องหรือเนื้อเพลงประกอบการแสดงต่าง ๆ
          4.  การขับร้องหมู่ คือ การขับร้องพร้อมกันตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป แบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ การขับร้องทำนองเดียวกันและการร้องประสานเสียง
     2.  การขับร้องเพลงไทย การขับร้องเพลงไทย ควรเริ่มจากท่าทางการร้อง เนื่องจากเพลงไทยมีลักษณะเฉพาะ ผู้ขับร้องจะนั่งร้องเป็นส่วนใหญ่และมียืนร้องบ้างตามโอกาส ซึ่งผู้ขับร้องควรจะแสดงท่าทางให้เหมาะสม ดังนี้
          1.  ท่านั่ง ผู้ขับร้องส่วนใหญ่จะนั่งราบกับพื้นเวทีเช่นเดียวกับนักดนตรีซึ่งจะต้องนั่งพับเพียบให้เรียบร้อย สำรวมกิริยา นั่งตัวตรงไม่กระดุกกระดิก หรือเคลื่อนไหวมากเกินไป ขณะร้องให้หันหน้าไปทางผู้ชมเสมอ
          2.  ท่ายืน ในบางโอกาสผู้ขับร้องอาจจะได้ยืนร้อง ซึ่งผู้ขับร้องควรยืนร้อง ซึ่งผู้ขับร้องควรยืนอย่างสำรวมกิริยาท่าทาง และระวังการเคลื่อนไหวมือ เท้า และลำตัว
          การขับร้องเพลงไทย มีหลักการปฏิบัติ ดังนี้
          1.   ร้องให้มีระดับเสียงสอดคล้องกับเสียงดนตรี
          2.  หายใจเข้า-ออก ให้สอดคล้องกับช่วงจังหวะ ทำนอง และเนื้อเพลง
          3.  ออกเสียงพยัญชนนะ สระ คำควบกล้ำ ตามอักขรวิธี
          4.  ร้องให้ถูกต้องตามวรรคตอนของเนื้อเพลง เพราะหากร้องไม่ถูกวรรคตอน อาจทำให้ความหมายคลาดเคลื่อนได้
          5.  เนื่องจากเพลงไทยมีการเอื้อน ให้ระมัดระวังในเรื่องการออกเสียงควรเอื้อนให้มีน้ำเสียงสม่ำเสมอตามจังหวะและทำนองเพลง

                                                                         เพลงไทยที่ควรฝึกร้อง                                                                            เพลง ปีนตลิ่งนอก
                                                                                                                                เนื้อร้อง ยง อินคเวทย์
                            เมล็ดข้าวสีขาวราวกับหิน                                                คนได้กินทุกบ้านทุกฐานถิ่น
                            แต่กว่าจะได้ข้าวให้เรากิน                                               ชาวนาสิ้นกำลังเกือบทั้งปี
                            ต้องทนแดดทนฝนทนลมหนาว                                       จึงได้ข้าวจากนามาถึงนี่
                            คนกินข้าวควรนึกไว้ให้จงดี                                              ชาวนามีคุณแก่เราไม่เบาเอย

                                                                                 เพลง หนีเสือ
                                                                                                                                  เนื้อร้อง มนตรี ตราโมท
                                    จะหนีภัยไข้ป่วยด้วยย้ายบ้าน                                  ไม่เป็นการหนีรอดปลอดภัยได้
                             เพราะโรคร้ายย้ายติดชิดตัวไป                                         อยู่ที่ไหนโรคนั้นก็พลันมี
                             ถ้าหนีด้วยรักษาอนามัย                                                   มั่นอยู่ในความสะอาดอย่างถ้วนถี่
                             ให้บ้านเรือนร่างกายสดใสดี                                             ก็จะหนีโรคภัยได้พ้นเอย

     3.  การขับร้องเพลงไทยสากล เพลงไทยสากลเป็นเพลงที่ถูกแต่งขึ้นโดยใช้แนวทำนองดนตรีสากล ซึ่งแนวทำนองเพลงจะแตกต่างจากเพลงไทย คือ ไม่มีการเอื้อน มีตัวโน้ตเป็นตัวบอกจังหวะและทำนอง ในปัจจุบันเพลงไทยสากลมีหลายประเภท เช่น เพลงสตริง เพลงลูกทุ่ง เพลงลูกกรุง เป็นต้น
          การขับร้องเพลงไทยสากล มีหลักปฏิบัติ ดังนี้
          1.  ร้องให้ถูกต้องตามจังหวะทำนองเพลง
          2.  ร้องใหเต็มเสียง แต่ไม่ใช่การตะโกน
          3.  ออกเสียงพยัญชนะและอักขระให้ถูกต้องชัดเจน
          4.  ร้องตามเนื้อหาของบทเพลงให้ครบถ้วน
          5.  ขณะร้องควรหายใจเข้า-ออกให้สอดคล้องกับจังหวะและวรรคตอนของเพลงที่ขับร้อง
          6.  ขณะร้องควรแสดงสีหน้าท่าทางให้สัมพันธ์กับความหมายของเพลง

หลักการขับร้องเพลง     การขับร้องเป็นการสร้างสรรค์ทางดนตรีวิธีหนึ่ง ซึ่งใช้วิธีเปล่งเสียงออกมาให้เป็นเพลงต่าง ๆ โดยอาศัยองค์ประกอบทางดนตรี เพื่อทำให้เพลงที่ร้องมีความไพเราะขึ้น
     1.  ประเภทของการขับร้อง แบ่งออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่
          1.  การขับร้องอิสระ คือ การขับร้องทั่วไป โดยไม่มีดนตรีประกอบผู้ขับร้องสามารถขับร้องตามที่ตนเองถนัดหรือต้องการ โดยไม่คำนึงถึงระดับเสียงของเครื่องดนตรี
          2.  การขับร้องประกอบดนตรี คือ การขับร้องให้เข้ากับการบรรเลงเครื่องดนตรี โดยคำนึงถึงทำนอง จังหวะ และรูปแบบของเพลง
          3.  การขับร้องประกอบการแสดง คือ การขับร้องเพื่อบรรยายเนื้อเรื่องหรือเนื้อเพลงประกอบการแสดงต่าง ๆ
          4.  การขับร้องหมู่ คือ การขับร้องพร้อมกันตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป แบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ การขับร้องทำนองเดียวกันและการร้องประสานเสียง
     2.  การขับร้องเพลงไทย การขับร้องเพลงไทย ควรเริ่มจากท่าทางการร้อง เนื่องจากเพลงไทยมีลักษณะเฉพาะ ผู้ขับร้องจะนั่งร้องเป็นส่วนใหญ่และมียืนร้องบ้างตามโอกาส ซึ่งผู้ขับร้องควรจะแสดงท่าทางให้เหมาะสม ดังนี้
          1.  ท่านั่ง ผู้ขับร้องส่วนใหญ่จะนั่งราบกับพื้นเวทีเช่นเดียวกับนักดนตรีซึ่งจะต้องนั่งพับเพียบให้เรียบร้อย สำรวมกิริยา นั่งตัวตรงไม่กระดุกกระดิก หรือเคลื่อนไหวมากเกินไป ขณะร้องให้หันหน้าไปทางผู้ชมเสมอ
          2.  ท่ายืน ในบางโอกาสผู้ขับร้องอาจจะได้ยืนร้อง ซึ่งผู้ขับร้องควรยืนร้อง ซึ่งผู้ขับร้องควรยืนอย่างสำรวมกิริยาท่าทาง และระวังการเคลื่อนไหวมือ เท้า และลำตัว
          การขับร้องเพลงไทย มีหลักการปฏิบัติ ดังนี้
          1.   ร้องให้มีระดับเสียงสอดคล้องกับเสียงดนตรี
          2.  หายใจเข้า-ออก ให้สอดคล้องกับช่วงจังหวะ ทำนอง และเนื้อเพลง
          3.  ออกเสียงพยัญชนนะ สระ คำควบกล้ำ ตามอักขรวิธี
          4.  ร้องให้ถูกต้องตามวรรคตอนของเนื้อเพลง เพราะหากร้องไม่ถูกวรรคตอน อาจทำให้ความหมายคลาดเคลื่อนได้
          5.  เนื่องจากเพลงไทยมีการเอื้อน ให้ระมัดระวังในเรื่องการออกเสียงควรเอื้อนให้มีน้ำเสียงสม่ำเสมอตามจังหวะและทำนองเพลง

                                                                         เพลงไทยที่ควรฝึกร้อง                                                                            เพลง ปีนตลิ่งนอก
                                                                                                                                เนื้อร้อง ยง อินคเวทย์
                            เมล็ดข้าวสีขาวราวกับหิน                                                คนได้กินทุกบ้านทุกฐานถิ่น
                            แต่กว่าจะได้ข้าวให้เรากิน                                               ชาวนาสิ้นกำลังเกือบทั้งปี
                            ต้องทนแดดทนฝนทนลมหนาว                                       จึงได้ข้าวจากนามาถึงนี่
                            คนกินข้าวควรนึกไว้ให้จงดี                                              ชาวนามีคุณแก่เราไม่เบาเอย

                                                                                 เพลง หนีเสือ
                                                                                                                                  เนื้อร้อง มนตรี ตราโมท
                                    จะหนีภัยไข้ป่วยด้วยย้ายบ้าน                                  ไม่เป็นการหนีรอดปลอดภัยได้
                             เพราะโรคร้ายย้ายติดชิดตัวไป                                         อยู่ที่ไหนโรคนั้นก็พลันมี
                             ถ้าหนีด้วยรักษาอนามัย                                                   มั่นอยู่ในความสะอาดอย่างถ้วนถี่
                             ให้บ้านเรือนร่างกายสดใสดี                                             ก็จะหนีโรคภัยได้พ้นเอย

     3.  การขับร้องเพลงไทยสากล เพลงไทยสากลเป็นเพลงที่ถูกแต่งขึ้นโดยใช้แนวทำนองดนตรีสากล ซึ่งแนวทำนองเพลงจะแตกต่างจากเพลงไทย คือ ไม่มีการเอื้อน มีตัวโน้ตเป็นตัวบอกจังหวะและทำนอง ในปัจจุบันเพลงไทยสากลมีหลายประเภท เช่น เพลงสตริง เพลงลูกทุ่ง เพลงลูกกรุง เป็นต้น
          การขับร้องเพลงไทยสากล มีหลักปฏิบัติ ดังนี้
          1.  ร้องให้ถูกต้องตามจังหวะทำนองเพลง
          2.  ร้องใหเต็มเสียง แต่ไม่ใช่การตะโกน
          3.  ออกเสียงพยัญชนะและอักขระให้ถูกต้องชัดเจน
          4.  ร้องตามเนื้อหาของบทเพลงให้ครบถ้วน
          5.  ขณะร้องควรหายใจเข้า-ออกให้สอดคล้องกับจังหวะและวรรคตอนของเพลงที่ขับร้อง
          6.  ขณะร้องควรแสดงสีหน้าท่าทางให้สัมพันธ์กับความหมายของเพลง

หลักการขับร้องเพลง     การขับร้องเป็นการสร้างสรรค์ทางดนตรีวิธีหนึ่ง ซึ่งใช้วิธีเปล่งเสียงออกมาให้เป็นเพลงต่าง ๆ โดยอาศัยองค์ประกอบทางดนตรี เพื่อทำให้เพลงที่ร้องมีความไพเราะขึ้น
     1.  ประเภทของการขับร้อง แบ่งออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่
          1.  การขับร้องอิสระ คือ การขับร้องทั่วไป โดยไม่มีดนตรีประกอบผู้ขับร้องสามารถขับร้องตามที่ตนเองถนัดหรือต้องการ โดยไม่คำนึงถึงระดับเสียงของเครื่องดนตรี
          2.  การขับร้องประกอบดนตรี คือ การขับร้องให้เข้ากับการบรรเลงเครื่องดนตรี โดยคำนึงถึงทำนอง จังหวะ และรูปแบบของเพลง
          3.  การขับร้องประกอบการแสดง คือ การขับร้องเพื่อบรรยายเนื้อเรื่องหรือเนื้อเพลงประกอบการแสดงต่าง ๆ
          4.  การขับร้องหมู่ คือ การขับร้องพร้อมกันตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป แบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ การขับร้องทำนองเดียวกันและการร้องประสานเสียง
     2.  การขับร้องเพลงไทย การขับร้องเพลงไทย ควรเริ่มจากท่าทางการร้อง เนื่องจากเพลงไทยมีลักษณะเฉพาะ ผู้ขับร้องจะนั่งร้องเป็นส่วนใหญ่และมียืนร้องบ้างตามโอกาส ซึ่งผู้ขับร้องควรจะแสดงท่าทางให้เหมาะสม ดังนี้
          1.  ท่านั่ง ผู้ขับร้องส่วนใหญ่จะนั่งราบกับพื้นเวทีเช่นเดียวกับนักดนตรีซึ่งจะต้องนั่งพับเพียบให้เรียบร้อย สำรวมกิริยา นั่งตัวตรงไม่กระดุกกระดิก หรือเคลื่อนไหวมากเกินไป ขณะร้องให้หันหน้าไปทางผู้ชมเสมอ
          2.  ท่ายืน ในบางโอกาสผู้ขับร้องอาจจะได้ยืนร้อง ซึ่งผู้ขับร้องควรยืนร้อง ซึ่งผู้ขับร้องควรยืนอย่างสำรวมกิริยาท่าทาง และระวังการเคลื่อนไหวมือ เท้า และลำตัว
          การขับร้องเพลงไทย มีหลักการปฏิบัติ ดังนี้
          1.   ร้องให้มีระดับเสียงสอดคล้องกับเสียงดนตรี
          2.  หายใจเข้า-ออก ให้สอดคล้องกับช่วงจังหวะ ทำนอง และเนื้อเพลง
          3.  ออกเสียงพยัญชนนะ สระ คำควบกล้ำ ตามอักขรวิธี
          4.  ร้องให้ถูกต้องตามวรรคตอนของเนื้อเพลง เพราะหากร้องไม่ถูกวรรคตอน อาจทำให้ความหมายคลาดเคลื่อนได้
          5.  เนื่องจากเพลงไทยมีการเอื้อน ให้ระมัดระวังในเรื่องการออกเสียงควรเอื้อนให้มีน้ำเสียงสม่ำเสมอตามจังหวะและทำนองเพลง

                                                                         เพลงไทยที่ควรฝึกร้อง                                                                            เพลง ปีนตลิ่งนอก
                                                                                                                                เนื้อร้อง ยง อินคเวทย์
                            เมล็ดข้าวสีขาวราวกับหิน                                                คนได้กินทุกบ้านทุกฐานถิ่น
                            แต่กว่าจะได้ข้าวให้เรากิน                                               ชาวนาสิ้นกำลังเกือบทั้งปี
                            ต้องทนแดดทนฝนทนลมหนาว                                       จึงได้ข้าวจากนามาถึงนี่
                            คนกินข้าวควรนึกไว้ให้จงดี                                              ชาวนามีคุณแก่เราไม่เบาเอย

                                                                                 เพลง หนีเสือ
                                                                                                                                  เนื้อร้อง มนตรี ตราโมท
                                    จะหนีภัยไข้ป่วยด้วยย้ายบ้าน                                  ไม่เป็นการหนีรอดปลอดภัยได้
                             เพราะโรคร้ายย้ายติดชิดตัวไป                                         อยู่ที่ไหนโรคนั้นก็พลันมี
                             ถ้าหนีด้วยรักษาอนามัย                                                   มั่นอยู่ในความสะอาดอย่างถ้วนถี่
                             ให้บ้านเรือนร่างกายสดใสดี                                             ก็จะหนีโรคภัยได้พ้นเอย

     3.  การขับร้องเพลงไทยสากล เพลงไทยสากลเป็นเพลงที่ถูกแต่งขึ้นโดยใช้แนวทำนองดนตรีสากล ซึ่งแนวทำนองเพลงจะแตกต่างจากเพลงไทย คือ ไม่มีการเอื้อน มีตัวโน้ตเป็นตัวบอกจังหวะและทำนอง ในปัจจุบันเพลงไทยสากลมีหลายประเภท เช่น เพลงสตริง เพลงลูกทุ่ง เพลงลูกกรุง เป็นต้น
          การขับร้องเพลงไทยสากล มีหลักปฏิบัติ ดังนี้
          1.  ร้องให้ถูกต้องตามจังหวะทำนองเพลง
          2.  ร้องใหเต็มเสียง แต่ไม่ใช่การตะโกน
          3.  ออกเสียงพยัญชนะและอักขระให้ถูกต้องชัดเจน
          4.  ร้องตามเนื้อหาของบทเพลงให้ครบถ้วน
          5.  ขณะร้องควรหายใจเข้า-ออกให้สอดคล้องกับจังหวะและวรรคตอนของเพลงที่ขับร้อง
          6.  ขณะร้องควรแสดงสีหน้าท่าทางให้สัมพันธ์กับความหมายของเพลง

หลักการขับร้องเพลง     การขับร้องเป็นการสร้างสรรค์ทางดนตรีวิธีหนึ่ง ซึ่งใช้วิธีเปล่งเสียงออกมาให้เป็นเพลงต่าง ๆ โดยอาศัยองค์ประกอบทางดนตรี เพื่อทำให้เพลงที่ร้องมีความไพเราะขึ้น
     1.  ประเภทของการขับร้อง แบ่งออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่
          1.  การขับร้องอิสระ คือ การขับร้องทั่วไป โดยไม่มีดนตรีประกอบผู้ขับร้องสามารถขับร้องตามที่ตนเองถนัดหรือต้องการ โดยไม่คำนึงถึงระดับเสียงของเครื่องดนตรี
          2.  การขับร้องประกอบดนตรี คือ การขับร้องให้เข้ากับการบรรเลงเครื่องดนตรี โดยคำนึงถึงทำนอง จังหวะ และรูปแบบของเพลง
          3.  การขับร้องประกอบการแสดง คือ การขับร้องเพื่อบรรยายเนื้อเรื่องหรือเนื้อเพลงประกอบการแสดงต่าง ๆ
          4.  การขับร้องหมู่ คือ การขับร้องพร้อมกันตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป แบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ การขับร้องทำนองเดียวกันและการร้องประสานเสียง
     2.  การขับร้องเพลงไทย การขับร้องเพลงไทย ควรเริ่มจากท่าทางการร้อง เนื่องจากเพลงไทยมีลักษณะเฉพาะ ผู้ขับร้องจะนั่งร้องเป็นส่วนใหญ่และมียืนร้องบ้างตามโอกาส ซึ่งผู้ขับร้องควรจะแสดงท่าทางให้เหมาะสม ดังนี้
          1.  ท่านั่ง ผู้ขับร้องส่วนใหญ่จะนั่งราบกับพื้นเวทีเช่นเดียวกับนักดนตรีซึ่งจะต้องนั่งพับเพียบให้เรียบร้อย สำรวมกิริยา นั่งตัวตรงไม่กระดุกกระดิก หรือเคลื่อนไหวมากเกินไป ขณะร้องให้หันหน้าไปทางผู้ชมเสมอ
          2.  ท่ายืน ในบางโอกาสผู้ขับร้องอาจจะได้ยืนร้อง ซึ่งผู้ขับร้องควรยืนร้อง ซึ่งผู้ขับร้องควรยืนอย่างสำรวมกิริยาท่าทาง และระวังการเคลื่อนไหวมือ เท้า และลำตัว
          การขับร้องเพลงไทย มีหลักการปฏิบัติ ดังนี้
          1.   ร้องให้มีระดับเสียงสอดคล้องกับเสียงดนตรี
          2.  หายใจเข้า-ออก ให้สอดคล้องกับช่วงจังหวะ ทำนอง และเนื้อเพลง
          3.  ออกเสียงพยัญชนนะ สระ คำควบกล้ำ ตามอักขรวิธี
          4.  ร้องให้ถูกต้องตามวรรคตอนของเนื้อเพลง เพราะหากร้องไม่ถูกวรรคตอน อาจทำให้ความหมายคลาดเคลื่อนได้
          5.  เนื่องจากเพลงไทยมีการเอื้อน ให้ระมัดระวังในเรื่องการออกเสียงควรเอื้อนให้มีน้ำเสียงสม่ำเสมอตามจังหวะและทำนองเพลง

                                                                         เพลงไทยที่ควรฝึกร้อง                                                                            เพลง ปีนตลิ่งนอก
                                                                                                                                เนื้อร้อง ยง อินคเวทย์
                            เมล็ดข้าวสีขาวราวกับหิน                                                คนได้กินทุกบ้านทุกฐานถิ่น
                            แต่กว่าจะได้ข้าวให้เรากิน                                               ชาวนาสิ้นกำลังเกือบทั้งปี
                            ต้องทนแดดทนฝนทนลมหนาว                                       จึงได้ข้าวจากนามาถึงนี่
                            คนกินข้าวควรนึกไว้ให้จงดี                                              ชาวนามีคุณแก่เราไม่เบาเอย

                                                                                 เพลง หนีเสือ
                                                                                                                                  เนื้อร้อง มนตรี ตราโมท
                                    จะหนีภัยไข้ป่วยด้วยย้ายบ้าน                                  ไม่เป็นการหนีรอดปลอดภัยได้
                             เพราะโรคร้ายย้ายติดชิดตัวไป                                         อยู่ที่ไหนโรคนั้นก็พลันมี
                             ถ้าหนีด้วยรักษาอนามัย                                                   มั่นอยู่ในความสะอาดอย่างถ้วนถี่
                             ให้บ้านเรือนร่างกายสดใสดี                                             ก็จะหนีโรคภัยได้พ้นเอย

     3.  การขับร้องเพลงไทยสากล เพลงไทยสากลเป็นเพลงที่ถูกแต่งขึ้นโดยใช้แนวทำนองดนตรีสากล ซึ่งแนวทำนองเพลงจะแตกต่างจากเพลงไทย คือ ไม่มีการเอื้อน มีตัวโน้ตเป็นตัวบอกจังหวะและทำนอง ในปัจจุบันเพลงไทยสากลมีหลายประเภท เช่น เพลงสตริง เพลงลูกทุ่ง เพลงลูกกรุง เป็นต้น
          การขับร้องเพลงไทยสากล มีหลักปฏิบัติ ดังนี้
          1.  ร้องให้ถูกต้องตามจังหวะทำนองเพลง
          2.  ร้องใหเต็มเสียง แต่ไม่ใช่การตะโกน
          3.  ออกเสียงพยัญชนะและอักขระให้ถูกต้องชัดเจน
          4.  ร้องตามเนื้อหาของบทเพลงให้ครบถ้วน
          5.  ขณะร้องควรหายใจเข้า-ออกให้สอดคล้องกับจังหวะและวรรคตอนของเพลงที่ขับร้อง
          6.  ขณะร้องควรแสดงสีหน้าท่าทางให้สัมพันธ์กับความหมายของเพลง

หลักการขับร้องเพลง     การขับร้องเป็นการสร้างสรรค์ทางดนตรีวิธีหนึ่ง ซึ่งใช้วิธีเปล่งเสียงออกมาให้เป็นเพลงต่าง ๆ โดยอาศัยองค์ประกอบทางดนตรี เพื่อทำให้เพลงที่ร้องมีความไพเราะขึ้น
     1.  ประเภทของการขับร้อง แบ่งออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่
          1.  การขับร้องอิสระ คือ การขับร้องทั่วไป โดยไม่มีดนตรีประกอบผู้ขับร้องสามารถขับร้องตามที่ตนเองถนัดหรือต้องการ โดยไม่คำนึงถึงระดับเสียงของเครื่องดนตรี
          2.  การขับร้องประกอบดนตรี คือ การขับร้องให้เข้ากับการบรรเลงเครื่องดนตรี โดยคำนึงถึงทำนอง จังหวะ และรูปแบบของเพลง
          3.  การขับร้องประกอบการแสดง คือ การขับร้องเพื่อบรรยายเนื้อเรื่องหรือเนื้อเพลงประกอบการแสดงต่าง ๆ
          4.  การขับร้องหมู่ คือ การขับร้องพร้อมกันตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป แบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ การขับร้องทำนองเดียวกันและการร้องประสานเสียง
     2.  การขับร้องเพลงไทย การขับร้องเพลงไทย ควรเริ่มจากท่าทางการร้อง เนื่องจากเพลงไทยมีลักษณะเฉพาะ ผู้ขับร้องจะนั่งร้องเป็นส่วนใหญ่และมียืนร้องบ้างตามโอกาส ซึ่งผู้ขับร้องควรจะแสดงท่าทางให้เหมาะสม ดังนี้
          1.  ท่านั่ง ผู้ขับร้องส่วนใหญ่จะนั่งราบกับพื้นเวทีเช่นเดียวกับนักดนตรีซึ่งจะต้องนั่งพับเพียบให้เรียบร้อย สำรวมกิริยา นั่งตัวตรงไม่กระดุกกระดิก หรือเคลื่อนไหวมากเกินไป ขณะร้องให้หันหน้าไปทางผู้ชมเสมอ
          2.  ท่ายืน ในบางโอกาสผู้ขับร้องอาจจะได้ยืนร้อง ซึ่งผู้ขับร้องควรยืนร้อง ซึ่งผู้ขับร้องควรยืนอย่างสำรวมกิริยาท่าทาง และระวังการเคลื่อนไหวมือ เท้า และลำตัว
          การขับร้องเพลงไทย มีหลักการปฏิบัติ ดังนี้
          1.   ร้องให้มีระดับเสียงสอดคล้องกับเสียงดนตรี
          2.  หายใจเข้า-ออก ให้สอดคล้องกับช่วงจังหวะ ทำนอง และเนื้อเพลง
          3.  ออกเสียงพยัญชนนะ สระ คำควบกล้ำ ตามอักขรวิธี
          4.  ร้องให้ถูกต้องตามวรรคตอนของเนื้อเพลง เพราะหากร้องไม่ถูกวรรคตอน อาจทำให้ความหมายคลาดเคลื่อนได้
          5.  เนื่องจากเพลงไทยมีการเอื้อน ให้ระมัดระวังในเรื่องการออกเสียงควรเอื้อนให้มีน้ำเสียงสม่ำเสมอตามจังหวะและทำนองเพลง

                                                                         เพลงไทยที่ควรฝึกร้อง                                                                            เพลง ปีนตลิ่งนอก
                                                                                                                                เนื้อร้อง ยง อินคเวทย์
                            เมล็ดข้าวสีขาวราวกับหิน                                                คนได้กินทุกบ้านทุกฐานถิ่น
                            แต่กว่าจะได้ข้าวให้เรากิน                                               ชาวนาสิ้นกำลังเกือบทั้งปี
                            ต้องทนแดดทนฝนทนลมหนาว                                       จึงได้ข้าวจากนามาถึงนี่
                            คนกินข้าวควรนึกไว้ให้จงดี                                              ชาวนามีคุณแก่เราไม่เบาเอย

                                                                                 เพลง หนีเสือ
                                                                                                                                  เนื้อร้อง มนตรี ตราโมท
                                    จะหนีภัยไข้ป่วยด้วยย้ายบ้าน                                  ไม่เป็นการหนีรอดปลอดภัยได้
                             เพราะโรคร้ายย้ายติดชิดตัวไป                                         อยู่ที่ไหนโรคนั้นก็พลันมี
                             ถ้าหนีด้วยรักษาอนามัย                                                   มั่นอยู่ในความสะอาดอย่างถ้วนถี่
                             ให้บ้านเรือนร่างกายสดใสดี                                             ก็จะหนีโรคภัยได้พ้นเอย

     3.  การขับร้องเพลงไทยสากล เพลงไทยสากลเป็นเพลงที่ถูกแต่งขึ้นโดยใช้แนวทำนองดนตรีสากล ซึ่งแนวทำนองเพลงจะแตกต่างจากเพลงไทย คือ ไม่มีการเอื้อน มีตัวโน้ตเป็นตัวบอกจังหวะและทำนอง ในปัจจุบันเพลงไทยสากลมีหลายประเภท เช่น เพลงสตริง เพลงลูกทุ่ง เพลงลูกกรุง เป็นต้น
          การขับร้องเพลงไทยสากล มีหลักปฏิบัติ ดังนี้
          1.  ร้องให้ถูกต้องตามจังหวะทำนองเพลง
          2.  ร้องใหเต็มเสียง แต่ไม่ใช่การตะโกน
          3.  ออกเสียงพยัญชนะและอักขระให้ถูกต้องชัดเจน
          4.  ร้องตามเนื้อหาของบทเพลงให้ครบถ้วน
          5.  ขณะร้องควรหายใจเข้า-ออกให้สอดคล้องกับจังหวะและวรรคตอนของเพลงที่ขับร้อง
          6.  ขณะร้องควรแสดงสีหน้าท่าทางให้สัมพันธ์กับความหมายของเพลง

หลักการขับร้องเพลง     การขับร้องเป็นการสร้างสรรค์ทางดนตรีวิธีหนึ่ง ซึ่งใช้วิธีเปล่งเสียงออกมาให้เป็นเพลงต่าง ๆ โดยอาศัยองค์ประกอบทางดนตรี เพื่อทำให้เพลงที่ร้องมีความไพเราะขึ้น
     1.  ประเภทของการขับร้อง แบ่งออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่
          1.  การขับร้องอิสระ คือ การขับร้องทั่วไป โดยไม่มีดนตรีประกอบผู้ขับร้องสามารถขับร้องตามที่ตนเองถนัดหรือต้องการ โดยไม่คำนึงถึงระดับเสียงของเครื่องดนตรี
          2.  การขับร้องประกอบดนตรี คือ การขับร้องให้เข้ากับการบรรเลงเครื่องดนตรี โดยคำนึงถึงทำนอง จังหวะ และรูปแบบของเพลง
          3.  การขับร้องประกอบการแสดง คือ การขับร้องเพื่อบรรยายเนื้อเรื่องหรือเนื้อเพลงประกอบการแสดงต่าง ๆ
          4.  การขับร้องหมู่ คือ การขับร้องพร้อมกันตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป แบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ การขับร้องทำนองเดียวกันและการร้องประสานเสียง
     2.  การขับร้องเพลงไทย การขับร้องเพลงไทย ควรเริ่มจากท่าทางการร้อง เนื่องจากเพลงไทยมีลักษณะเฉพาะ ผู้ขับร้องจะนั่งร้องเป็นส่วนใหญ่และมียืนร้องบ้างตามโอกาส ซึ่งผู้ขับร้องควรจะแสดงท่าทางให้เหมาะสม ดังนี้
          1.  ท่านั่ง ผู้ขับร้องส่วนใหญ่จะนั่งราบกับพื้นเวทีเช่นเดียวกับนักดนตรีซึ่งจะต้องนั่งพับเพียบให้เรียบร้อย สำรวมกิริยา นั่งตัวตรงไม่กระดุกกระดิก หรือเคลื่อนไหวมากเกินไป ขณะร้องให้หันหน้าไปทางผู้ชมเสมอ
          2.  ท่ายืน ในบางโอกาสผู้ขับร้องอาจจะได้ยืนร้อง ซึ่งผู้ขับร้องควรยืนร้อง ซึ่งผู้ขับร้องควรยืนอย่างสำรวมกิริยาท่าทาง และระวังการเคลื่อนไหวมือ เท้า และลำตัว
          การขับร้องเพลงไทย มีหลักการปฏิบัติ ดังนี้
          1.   ร้องให้มีระดับเสียงสอดคล้องกับเสียงดนตรี
          2.  หายใจเข้า-ออก ให้สอดคล้องกับช่วงจังหวะ ทำนอง และเนื้อเพลง
          3.  ออกเสียงพยัญชนนะ สระ คำควบกล้ำ ตามอักขรวิธี
          4.  ร้องให้ถูกต้องตามวรรคตอนของเนื้อเพลง เพราะหากร้องไม่ถูกวรรคตอน อาจทำให้ความหมายคลาดเคลื่อนได้
          5.  เนื่องจากเพลงไทยมีการเอื้อน ให้ระมัดระวังในเรื่องการออกเสียงควรเอื้อนให้มีน้ำเสียงสม่ำเสมอตามจังหวะและทำนองเพลง

                                                                         เพลงไทยที่ควรฝึกร้อง                                                                            เพลง ปีนตลิ่งนอก
                                                                                                                                เนื้อร้อง ยง อินคเวทย์
                            เมล็ดข้าวสีขาวราวกับหิน                                                คนได้กินทุกบ้านทุกฐานถิ่น
                            แต่กว่าจะได้ข้าวให้เรากิน                                               ชาวนาสิ้นกำลังเกือบทั้งปี
                            ต้องทนแดดทนฝนทนลมหนาว                                       จึงได้ข้าวจากนามาถึงนี่
                            คนกินข้าวควรนึกไว้ให้จงดี                                              ชาวนามีคุณแก่เราไม่เบาเอย

                                                                                 เพลง หนีเสือ
                                                                                                                                  เนื้อร้อง มนตรี ตราโมท
                                    จะหนีภัยไข้ป่วยด้วยย้ายบ้าน                                  ไม่เป็นการหนีรอดปลอดภัยได้
                             เพราะโรคร้ายย้ายติดชิดตัวไป                                         อยู่ที่ไหนโรคนั้นก็พลันมี
                             ถ้าหนีด้วยรักษาอนามัย                                                   มั่นอยู่ในความสะอาดอย่างถ้วนถี่
                             ให้บ้านเรือนร่างกายสดใสดี                                             ก็จะหนีโรคภัยได้พ้นเอย

     3.  การขับร้องเพลงไทยสากล เพลงไทยสากลเป็นเพลงที่ถูกแต่งขึ้นโดยใช้แนวทำนองดนตรีสากล ซึ่งแนวทำนองเพลงจะแตกต่างจากเพลงไทย คือ ไม่มีการเอื้อน มีตัวโน้ตเป็นตัวบอกจังหวะและทำนอง ในปัจจุบันเพลงไทยสากลมีหลายประเภท เช่น เพลงสตริง เพลงลูกทุ่ง เพลงลูกกรุง เป็นต้น
          การขับร้องเพลงไทยสากล มีหลักปฏิบัติ ดังนี้
          1.  ร้องให้ถูกต้องตามจังหวะทำนองเพลง
          2.  ร้องใหเต็มเสียง แต่ไม่ใช่การตะโกน
          3.  ออกเสียงพยัญชนะและอักขระให้ถูกต้องชัดเจน
          4.  ร้องตามเนื้อหาของบทเพลงให้ครบถ้วน
          5.  ขณะร้องควรหายใจเข้า-ออกให้สอดคล้องกับจังหวะและวรรคตอนของเพลงที่ขับร้อง
          6.  ขณะร้องควรแสดงสีหน้าท่าทางให้สัมพันธ์กับความหมายของเพลง

หลักการขับร้องเพลง     การขับร้องเป็นการสร้างสรรค์ทางดนตรีวิธีหนึ่ง ซึ่งใช้วิธีเปล่งเสียงออกมาให้เป็นเพลงต่าง ๆ โดยอาศัยองค์ประกอบทางดนตรี เพื่อทำให้เพลงที่ร้องมีความไพเราะขึ้น
     1.  ประเภทของการขับร้อง แบ่งออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่
          1.  การขับร้องอิสระ คือ การขับร้องทั่วไป โดยไม่มีดนตรีประกอบผู้ขับร้องสามารถขับร้องตามที่ตนเองถนัดหรือต้องการ โดยไม่คำนึงถึงระดับเสียงของเครื่องดนตรี
          2.  การขับร้องประกอบดนตรี คือ การขับร้องให้เข้ากับการบรรเลงเครื่องดนตรี โดยคำนึงถึงทำนอง จังหวะ และรูปแบบของเพลง
          3.  การขับร้องประกอบการแสดง คือ การขับร้องเพื่อบรรยายเนื้อเรื่องหรือเนื้อเพลงประกอบการแสดงต่าง ๆ
          4.  การขับร้องหมู่ คือ การขับร้องพร้อมกันตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป แบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ การขับร้องทำนองเดียวกันและการร้องประสานเสียง
     2.  การขับร้องเพลงไทย การขับร้องเพลงไทย ควรเริ่มจากท่าทางการร้อง เนื่องจากเพลงไทยมีลักษณะเฉพาะ ผู้ขับร้องจะนั่งร้องเป็นส่วนใหญ่และมียืนร้องบ้างตามโอกาส ซึ่งผู้ขับร้องควรจะแสดงท่าทางให้เหมาะสม ดังนี้
          1.  ท่านั่ง ผู้ขับร้องส่วนใหญ่จะนั่งราบกับพื้นเวทีเช่นเดียวกับนักดนตรีซึ่งจะต้องนั่งพับเพียบให้เรียบร้อย สำรวมกิริยา นั่งตัวตรงไม่กระดุกกระดิก หรือเคลื่อนไหวมากเกินไป ขณะร้องให้หันหน้าไปทางผู้ชมเสมอ
          2.  ท่ายืน ในบางโอกาสผู้ขับร้องอาจจะได้ยืนร้อง ซึ่งผู้ขับร้องควรยืนร้อง ซึ่งผู้ขับร้องควรยืนอย่างสำรวมกิริยาท่าทาง และระวังการเคลื่อนไหวมือ เท้า และลำตัว
          การขับร้องเพลงไทย มีหลักการปฏิบัติ ดังนี้
          1.   ร้องให้มีระดับเสียงสอดคล้องกับเสียงดนตรี
          2.  หายใจเข้า-ออก ให้สอดคล้องกับช่วงจังหวะ ทำนอง และเนื้อเพลง
          3.  ออกเสียงพยัญชนนะ สระ คำควบกล้ำ ตามอักขรวิธี
          4.  ร้องให้ถูกต้องตามวรรคตอนของเนื้อเพลง เพราะหากร้องไม่ถูกวรรคตอน อาจทำให้ความหมายคลาดเคลื่อนได้
          5.  เนื่องจากเพลงไทยมีการเอื้อน ให้ระมัดระวังในเรื่องการออกเสียงควรเอื้อนให้มีน้ำเสียงสม่ำเสมอตามจังหวะและทำนองเพลง

                                                                         เพลงไทยที่ควรฝึกร้อง                                                                            เพลง ปีนตลิ่งนอก
                                                                                                                                เนื้อร้อง ยง อินคเวทย์
                            เมล็ดข้าวสีขาวราวกับหิน                                                คนได้กินทุกบ้านทุกฐานถิ่น
                            แต่กว่าจะได้ข้าวให้เรากิน                                               ชาวนาสิ้นกำลังเกือบทั้งปี
                            ต้องทนแดดทนฝนทนลมหนาว                                       จึงได้ข้าวจากนามาถึงนี่
                            คนกินข้าวควรนึกไว้ให้จงดี                                              ชาวนามีคุณแก่เราไม่เบาเอย

                                                                                 เพลง หนีเสือ
                                                                                                                                  เนื้อร้อง มนตรี ตราโมท
                                    จะหนีภัยไข้ป่วยด้วยย้ายบ้าน                                  ไม่เป็นการหนีรอดปลอดภัยได้
                             เพราะโรคร้ายย้ายติดชิดตัวไป                                         อยู่ที่ไหนโรคนั้นก็พลันมี
                             ถ้าหนีด้วยรักษาอนามัย                                                   มั่นอยู่ในความสะอาดอย่างถ้วนถี่
                             ให้บ้านเรือนร่างกายสดใสดี                                             ก็จะหนีโรคภัยได้พ้นเอย

     3.  การขับร้องเพลงไทยสากล เพลงไทยสากลเป็นเพลงที่ถูกแต่งขึ้นโดยใช้แนวทำนองดนตรีสากล ซึ่งแนวทำนองเพลงจะแตกต่างจากเพลงไทย คือ ไม่มีการเอื้อน มีตัวโน้ตเป็นตัวบอกจังหวะและทำนอง ในปัจจุบันเพลงไทยสากลมีหลายประเภท เช่น เพลงสตริง เพลงลูกทุ่ง เพลงลูกกรุง เป็นต้น
          การขับร้องเพลงไทยสากล มีหลักปฏิบัติ ดังนี้
          1.  ร้องให้ถูกต้องตามจังหวะทำนองเพลง
          2.  ร้องใหเต็มเสียง แต่ไม่ใช่การตะโกน
          3.  ออกเสียงพยัญชนะและอักขระให้ถูกต้องชัดเจน
          4.  ร้องตามเนื้อหาของบทเพลงให้ครบถ้วน
          5.  ขณะร้องควรหายใจเข้า-ออกให้สอดคล้องกับจังหวะและวรรคตอนของเพลงที่ขับร้อง
          6.  ขณะร้องควรแสดงสีหน้าท่าทางให้สัมพันธ์กับความหมายของเพลง

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น